< กลับหน้าโมดูล

คอร์ส กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความรุนแรงในครอบครัว

โมดูลที่ 2 - อำนาจหน้าที่ของตำรวจและเจ้าพนักงานของรัฐในกรณีฉุกเฉิน

บทเรียนที่ 3 - การเข้าระงับเหตุของตำรวจสายตรวจ


ตำรวจสายตรวจมีอำนาจหน้าที่ในการป้องกันมิให้เกิดอาชญากรรมในพื้นที่ที่ตนรับผิดชอบ จะต้องรับแจ้งเหตุและลงพื้นที่เกิดเหตุอย่างรวดเร็ว มีอำนาจหน้าที่สามารถจับบุคคลที่กำลังกระทำผิดซึ่งหน้า มีพยานตามสมควรว่าบุคคลนั้นกระทำความผิดทางอาญา หรือมีพฤติการณ์น่าสงสัยว่าอาจก่อให้เกิดอันตรายกับบุคคลรอบตัว เป็นต้น


สำนักงานตำรวจแห่งชาติ, (2553), คู่มือปฏิบัติงานของตำรวจสายตรวจ.




คุณได้สะสม 0 แต้มกิจกรรม [ เริ่มสะสมใหม่ ]

สำหรับคอร์ส กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความรุนแรงในครอบครัว มีแต้มให้สะสมทั้งหมด 5 แต้ม

แต้มกิจกรรมจะถูกลบเมื่อท่านปิดหน้าต่างบราวเซอร์

แต้มกิจกรรมไม่เกี่ยวข้องกับการทดสอบเพื่อรับประกาศนียบัตร หากท่านต้องการรับประกาศนียบัตร กรุณา ล็อกอิน แล้วทำแบบทดสอบ

สารบัญ

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความรุนแรงในครอบครัว กฎหมายและมาตรการที่เกี่ยวข้องกับความรุนแรงในครอบครัว กฎหมายและมาตรการที่เกี่ยวข้องกับความรุนแรงในครอบครัว พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำความรุนแรงในครอบครัว ปี 2550 มาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพตาม พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ถูกกระทำความรุนแรงในครอบครัว ปี 2550 มาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพตาม พ.ร.บ. คุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 มาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553 ความเกี่ยวข้องกับประมวลกฎหมายอาญา อำนาจหน้าที่ของตำรวจและเจ้าพนักงานของรัฐในกรณีฉุกเฉิน เมื่อพบเห็นความรุนแรงหรือตกอยู่ในความรุนแรงและต้องการความช่วยเหลือ ตำรวจ เจ้าพนักงานฝ่ายปกครอง และพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพ.ร.บ. การเข้าระงับเหตุของตำรวจสายตรวจ การเข้าระงับเหตุของเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว ระเบียบกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการดําเนินการของพนักงานเจ้าหน้าที่ เมื่อพบเห็นหรือได้รับแจ้งเหตุความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2551 กรณีผู้ปกครองหรือญาติ ทารุณกรรมเด็กแต่ยังไม่มีการฟ้องหรือไม่ฟ้องคดีอาญา เจ้าพนักงานสืบสวนสามารถค้นและจับกุมได้ หากมีเหตุให้สงสัย กระบวนการยุติธรรมทางอาญาเบื้องต้น กระบวนการดำเนินคดีอาญาเบื้องต้น การร้องทุกข์คือการแจ้งรายงานประจำวันเกี่ยวกับคดี ข้อแตกต่างระหว่างบันทึก 1) รายงานประจำวันรับแจ้งเป็นหลักฐาน และ 2) รายงานประจำวันเกี่ยวกับคดี ขั้นตอนการใช้กระบวนการยุติธรรมไทย ชั้นตำรวจ พยานหลักฐาน หน้าที่และความรับผิดชอบของพนักงานสอบสวน การไกล่เกลี่ย ความเสี่ยงของการไกล่เกลี่ยในกรณีความรุนแรงระหว่างคู่รัก กรณีที่ผู้เสียหายร้องขอการไกล่เกลี่ย สิ่งที่ควรทำก่อน ระหว่าง และหลังจากกระบวนการไกล่เกลี่ย การส่งสำนวนฟ้องให้อัยการ ขั้นตอนการใช้กระบวนการยุติธรรมไทยชั้นศาล ขั้นตอนการพิจารณาคดีของศาล การตั้งผู้ประนีประนอม ข้อควรรู้เกี่ยวกับการไกล่เกลี่ยในกระบวนการศาล ขั้นตอนการพิพากษาของศาล คำสั่งศาลกำหนดมาตรการหรือวิธีการเพื่อบรรเทาทุกข์ระหว่างสอบสวนหรือ พิจารณาคดี การยอมความ ถอนคำร้องทุกข์ หรือถอนฟ้อง ความผิดฐานกระทำความรุนแรง ในครอบครัว แนวทางการพิจารณาความอาญาคดีความผิดเกี่ยวกับเพศที่ควรทราบ การคุ้มครองสวัสดิภาพ กลไกการคุ้มครองสวัสดิภาพผู้เสียหายจากความรุนแรงในครอบครัว คดีคุ้มครองสวัสดิภาพคืออะไร ใครคือผู้มีสิทธิยื่นขอคุ้มครองสวัสดิภาพผู้เสียหายจากความรุนแรง วิธียื่นคำร้องขอคุ้มครองสวัสดิภาพ เมื่อได้มาซึ่งคำสั่งคุ้มครองสวัสดิภาพ ผลของคำสั่งคุ้มครองสวัสดิภาพเป็นที่สุด หากแต่... เมื่อศาลมี “คำสั่งคุ้มครองสวัสดิภาพ” มาตรการคุ้มครองชั่วคราวระหว่างดำเนินคดี มาตรา 10 มาตรา 11 ตาม พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 การคุ้มครองสวัสดิภาพตามมาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพตามพ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 พนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพตามพ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546