< กลับหน้าโมดูล

คอร์ส แนวทางเบื้องต้นในการทำงานกับผู้ถูกกระทำความรุนแรงในครอบครัว

โมดูลที่ 5 - เครื่องมืออื่น ๆ ในการแสวงหาข้อมูลประกอบการวางแผนช่วยเหลือผู้เสียหาย

บทเรียนที่ 3 - ลำดับเหตุการณ์ในชีวิต


ลำดับเหตุการณ์ในชีวิต(14)

แผนผังลำดับเหตุการณ์ในชีวิต หรือไทม์ไลน์ (Timeline) เป็นแผนผังแสดงพัฒนาการหรือลำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามลำดับเวลา เป็นเครื่องมือที่ช่วยคลี่ความซับซ้อนของช่วงเวลาที่อาจมีหลายเหตุการณ์เกิดขึ้นใกล้เคียงกันหรือมีผลสืบเนื่องถึงกัน

ในระหว่างการทำไทม์ไลน์ ผู้ปฏิบัติงานควรช่วยสะท้อนอำนาจภายใน จุดแข็ง และเครือข่ายสนับสนุนรอบตัวของผู้เสียหายด้วย โดยอาจเพิ่มความละเอียดของไทม์ไลน์โดยการจัดระดับความเป็นบวกหรือลบของสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิต ดังเช่นตัวอย่าง


(14) โสภา อ่อนโอภาส & นุชนาฎ ยูฮันเงาะ (2564). เครื่องมือในการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์. คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดิการสังคม. มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

ภาพประกอบบทเรียน ภาพประกอบบทเรียน



สารบัญ

แนวทางเบื้องต้นในการทำงานกับผู้ถูกกระทำความรุนแรงในครอบครัว สภาวะทางจิตใจ ปฏิกิริยาทั่วไปที่เกิดขึ้นกับผู้เสียหาย และการให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น สภาวะทางจิตใจ ปฏิกิริยาทั่วไปที่เกิดขึ้นกับผู้เสียหาย และการให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น ผลกระทบของความรุนแรงต่อสมองของผู้เสียหาย สมองในขณะถูกกระทำความรุนแรง สภาวะทางสุขภาพจิตอื่นๆ การดูแลสุขภาพจิตใจในสภาวะฉุกเฉิน การฟัง เตรียมตัวก่อนการรับฟัง การรับฟัง การสะท้อนความรู้สึก Reflection of feelings การบอกจุดแข็งและข้อจำกัด เทคนิคการฟังอย่างง่าย ทบทวนหลักการรับฟัง การประเมินความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยงคืออะไร การประเมินความเสี่ยงในกรณีความรุนแรงในครอบครัว การประเมินความเสี่ยงในกรณีความรุนแรงในครอบครัว การระบุสถานการณ์ที่อันตรายที่สุดสำหรับผู้เสียหาย การวางแผนความปลอดภัย การวางแผนเพื่อความปลอดภัย เครื่องมืออื่น ๆ ในการแสวงหาข้อมูลประกอบการวางแผนช่วยเหลือผู้เสียหาย การแสวงหาข้อเท็จจริง/การสืบค้นข้อเท็จจริง (Fact finding) การทำแผนผังครอบครัว และแผนผังนิเวศน์ ลำดับเหตุการณ์ในชีวิต สรุปแนวทางเบื้องต้นในการทำงานกับผู้ถูกกระทำความรุนแรงในครอบครัว